วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

หลักการเขียนโครงการ

หลักการเขียนโครงการ
องค์ประกอบของการจัดทําโครงการประจําปี 2548 ขอให้ผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการที่จะดําเนินการใน ปี 2548 เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ ตามรายละเอียด

1.หลักการและเหตุผล
- ความสอดคล้องกับนโยบายและแผนยุทธศาสตร์
- ปัญหา ความจําเป็นที่ต้องทํา
- ปํญหาอุปสรรคที่คาดกว่าจะเกิดขึ้นหากไม่ได้ดําเนินโครงการ
2.วัตถุประสงค์
2.1 วัตถุประสงค์ทั่วไป
2.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ (การตั้งเป้าหมายผลลัพท์การดําเนินงานตามตัวชี้วัด)
3.กลวิธีการดําเนินงาน
4.เป้าหมายดําเนินการ
5.สถานที่จะดําเนินการ
6.ระยะเวลาดําเนินการ
7.งบประมาณ
- แหล่งงบประมาณให้ระบุแหล่งงบประมาณให้ชัดเจน, กรม…,รหัสงบประมาณ….วงเงินงบประมาณให้จําแนกรายละเอียดตามหมวดค่าใช้จ่าย หมวด…..,ค่าตอบแทนวิทยากร , ค่าใช้สอย, ค่าอาหารกลางวัน,ค่าอาหารว่าง,ค่าวัสดุ ขอให้แยกให้ชัดเจน ส่วนแผนและผังการดําเนินงาน ให้สรุปการใช้จ่ายเป็นรายไตรมาส
- วงเงินงบประมาณ : จําแนกตามหมวดค่าใช้จ่ายและตามมาตรฐานราคากลาง ที่กําหนด
8.แนวทางการติดตามประเมินผล
9.ผลที่คาดว่าจะได้รับ

10.แผนและผังควบคุมกํากับการดําเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ
- ทุกกลุ่มงานต้องจัดทําโครงการทั้งปีให้เสร็จภายในสิ้นเดือน 31 ธันวาคม 2548 ยกเว้นโครงการที่ มีนโยบายเพิ่มใหม่
- โครงการที่ขอใช้งบกลางที่ขออนุมัติให้เสนอผ่านกลุ่มงานยุทธศาสตร์ ส่วนโครงการที่ใช้งบกรม,กองหรืองบอื่น ๆ เมื่อได้รับการอนุมัติเรียบร้อยแล้วให้ เสนอผ่านฝ่าย/กลุ่มงานเจ้าของงบประมาณ
- โครงการที่ขออนุมัติใช้เงินบํารุงของสถานบริการจาก นพ.สาธารณสุขจังหวัด ที่ผ่านกลุ่ม
- การส่งคืนเงินยืมให้ส่งใช้คืนภายใน 15 วันภายหลังรับเงินยืม ถ้าไม่คืนภายในกําหนดให้หักจากเงินเดือน
แนวทางในการเขียนรายละเอียดเชิงการเงิน
1) ค่าใช้จ่ายต่อไปนี้ให้เป็นไปตามที่กําหนด
1. ค่าอาหาร

- จัด ณ สถานที่ที่ไม่ใช้โรงแรม ไม่เกินมื้อละ 100 บาท
- จัดในโรงแรม ไม่เกินมื้อละ 200 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- จัด ณ สถานที่ที่ไม่ใช่โรงแรม ไม่เกินมื้อละ 25 บาท
- จัดในโรงแรม ไม่เกินมื้อละ 50 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร
- ในสังกัด สสจ.แพร่ ชั่วโมงละ 300 บาท
- นอกสังกัด สสจ.แพร่ ชั่วโมงละ 600 บาท
- ภาคเอกชน ชั่วโมงละ 1,200 บาท
กรณีที่หน่วยงานภายนอกเชิญวิทยากรของ สสจ.ให้หน่วยงานที่เป็นผู้ขอวิทยากรรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าตอบแทนวิทยากร
4. ค่าจ้างเหมารถเอกชน
- รถตู ในจังหวัด ไมเกินวันละ 1,200 บาท (ไมรวมค่าน้ำมัน)
- รถตู นอกจังหวัด ไมเกินวันละ 1,500 บาท (ไมรวมค่าน้ำมัน)
- รถบัส ไมเกินวันละ 12,000บาท(รวมคาน้ำมัน) การคิดจํานวนวันในการจางเหมารถขึ้นอยูกับระยะทาง และเวลาและความยากง่ายสถานที่ที่ไป
5. กรณีใชยานพานะส่วนบุคคล
(ใชระเบียบกระทรวงการคลังวาด้วยการใชยานพาหนะสวนตัวเดินทางไปราชการ(ฉบับที่ 3) พ.ศ.2547 ให้เบิกเงินชดเชยใหแกผูเดินทางไปราชการ ซึ่งเป็นเจ้าของหรือผูครอบครอง แล้วแต่กรณีไดในอัตราต่อ 1 คัน ดังนี้
รถยนตส่วนบุคคล กม.ละ 2 บาท
รถจักรยานยนต กม.ละ 1 บาท
6.ค่าพัสดุในการประชุม
ไมเกินคนละ 50 บาท
(ถ้าเกินกว่านั้นต้องระบุสาเหตุที่ทําใหราคาเกินกว่าค่าที่กําหนด)
7. ค่าจ้างจัดทํารูปเล่มเอกสาร
7.1 ค่าจ้างถ่ายเอกสารแผ่นละไมเกิน 50 สตางค 7.2 เข้าเล่ม + แลคซีน ไม่เกินเล่มละ 10 บาท
7.3 ทําปก + สันปก + เข้าเล่ม รวมสันห่วง เล่มละ 25 บาท
7.4 เอกสาร 100 หน้าไม่เกิน 80 บาท (ใช้ในกรณีพิเศษ)
(ถ้าเกินกว่านั้นต้องระบุสาเหตุที่ทําใหราคาเกินกว่าค่าที่กําหนด)
8. ค่าใช้จ่ายเหล่านี้ใหงดตั้งงบประมาณเบิกจ่าย ยกเว้นมีความจําเป็นจริง ๆ ใหเขียนชี้แจงเหตุผล และระบุมาใหชัดเจน
- เสื้อ
- ค่าวิเคราะหข้อมูล (ใหเบิกจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ )
9. ค่าใชจ่ายที่งดไม่ใหเบิก
- ค่ากระเป๋าเอกสาร
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมของส่วนราชการสําหรับบุคคลภายนอก (อสม.,ผูนําศาสนา,กรรมการหมู่บ้าน)
1. ค่าอาหาร
กรณีจัดฝึกอบรมในสถานที่ของทางราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
- จัดอาหารครบทุกมื้อไมเกินคนละ 150 บาท/วัน
- ไม่ครบทุกมื้อไมเกินคนละ 75 บาท/วัน
* กรณีจัดฝึกอบรมในสถานที่ของเอกชน*
- จัดอาหารครบทุกมื้อไมเกินคนละ 250 บาท/วัน
- ไม่ครบทุกมื้อไมเกินคนละ 125 บาท/วัน
กรณีที่ส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรมไม่จัดอาหาร ที่พักและหรือยานพาหนะใหเบิกค่าใช้จ่ายให้แก่ผูเข้ารับการฝึกอบรมที่ เป็นบุคคลภายนอก ในส่วนที่มิไดจัดใหดังนี้
1.ไม่จัดอาหารทั้ง 3 มื้อ ใหเบิกจ่ายค่าอาหารได้ไมเกินคนละวันละ 100 บาท
2. จัดอาหารไมครบทุกมื้อ ใหเบิกจ่ายค่าอาหาร ไม่เกิน 2 ใน 3 ของค่าอาหารตามข้อ 1
ค่าที่พักเบิกไดเท่าที่จ่ายจริงไมเกินคนละ 300 บาท/คืน
ค่ายานพาหนะ
- ใหเบิกจ่ายไดโดยอนุโลมตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชเทียบเท่ากับข้าราชการระดับ 1
อัตราค่ารถยนตโดยสารประจําทางในจังหวัดแพร
จาก - ถึง
รถประจําทาง / คน / เที่ยว
หมายเหตุ
อ.เมืองแพร - อ.เด่นชัย
อ.เมืองแพร - อ.สอง
อ.เมืองแพร-อ. สูงเม่น
อ.เมืองแพร- อ.ร้องกวาง
อ.เมืองแพร- ลอง
อ.เมืองแพร- วังชิ้น
อ.เมืองแพร - อ.หนองม่วงไข
อ.เมืองแพร สส.จ.

หมายเหตุ ตาม พรก. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 มาตรา 22
- การเดินทางไปราชการโดยปกติใหใชยานพาหนะประจําทางและใหเบิกค่าพาหนะไดโดยประหยัด
- ในกรณีที่ไมมียานพาหนะประจําทางหรือมีแตต้องการความรวดเร็วเพื่อประโยชนแกทางราชการใหใชพาหนะอื่นได้ แต่ผู้เดินทางจะต้องชี้แจงเหตุผลและความจําเป็นไวในรายงานการเดินทางหรือหลักฐานการขอเบิกเงินค่าพาหนะนั้น
- ผู้ดํารงตําแหน่งระดับระดับ 6 ขึ้นไปหรือเทียบเท่า ใหเบิกค่าพาหนะรับจ้างไดสําหรับกรณีดังนี้
(1) การเดินทางไปกลับระหวางสถานที่พัก กับสถานียานพาหนะประจําทาง ในจังหวัดเดียวกันถ้าการเดินทางดังกล่าวตาม (1) ต้องเดินทางข้ามเขตจังหวัดใหเบิกค่าพาหนะรับจ้างได
เท่าที่จ่ายจริง แตต้องไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลังกําหนด
(2) การเดินทางไปกลับระหว่างสถานที่อยู ที่พัก กับสถานที่ปฏิบัติราชการภายในเขตจังหวัดเดียวกันวันละไมเกินสองเที่ยว
(3) การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพฯ
ผูซึ่งไมมีสิทธิเบิกคาพาหนะตามวรรคสาม ถาตองนําสัมภาระในการเดินทางหรือสิ่งของเครื่องใชของทางราชการไปด้วย และเป็นเหตุใหไม่สะดวกที่จะเดินทางโดยยานพาหนะประจําทาง ให้เบิกค่าพาหนะรับจ้างได

ไม่มีความคิดเห็น: